Mobirise

โบราณวัตถุ

โบราณสถานตุมปัง โบราณสถานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ซึ่งเป็นที่นับถือของชาววลัยลักษณ์และชุมชนรายรอบมหาวิทยาลัย

โบราณวัตถุที่เป็นชิ้นส่วนทางสถาปัตยกรรม

Mobirise

กระเบื้องเชิงชาย

View in 3D

รูปทรงเป็นทรงกระบอกผ่าครึ่ง หน้าที่ใช้งานน่าจะใช้ครอบสันหลังคามากกว่าใช้มุงหลังคาส่วนอื่น บางชิ้นพบการทำลวดลายที่ปลายด้านหนึ่งคล้ายเป็นกระเบื้องเชิงชาย พบชิ้นสมบูรณ์ที่เป็นกระเบื้องเชิงชายด้วยเพียงชิ้นเดียว

Mobirise

อิฐ

View in 3D

อิฐที่พบในการก่อสร้างโบราณสถานเป็นอิฐขนาด ในเนื้ออิฐมีแกลบข้าวปนอยู่ คล้ายกับอิฐที่พบในวัฒนธรรมทวารวดี

Mobirise

ฐานเสาของอาคาร

View in 3D

ฐานเสาของอาคาร ทำมาจากหินทรายสลัก ซึ่งมี 2 แบบ คือ
1. แบบ ก. รูปร่างค่อนข้างรี ตรงกลางสลักเป็นร่องวงกลมเป๋นร่องวงกลมไว้สำหรับไว้สำหรับวางเสาไม้ร่องวงกลมที่สลักไว้เป็นร่องไม่ลึกมากนัก
2. แบบ ข. รูปร่างสี่เหลี่ยม ตรงกลางสลักเป็นร่องวงกลมสำหรับวงกลมสำหรับวางไม้ ร่องวงกลมสลักไว้ค่อนข้างลึก 

โบราณวัตถุที่เป็นรูปเคารพทางศาสนา

Mobirise

พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หรือพระโพธิสัตว์เมตไตรยะ

View in 3D

พ.ศ.2526 ได้สำรวจพบชิ้นส่วนท่อนล่างของรูปเคารพ ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นท่อนล่างของเทวรูปพระวิษณุ โดยกำหนดอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 ทำให้ตีความกันว่าโบราณสถานแห่งนี้เป็นเทวสถานเนื่องในไวษรพนิกาย ซึ่งเป็นนิกายหนึ่งในศาสนาฮินดู นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์ว่าเป็นใหญ่กว่าเทพใด ๆ ในกลุ่มตรีมูรติอันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ

โบราณวัตถุประเภทเครื่องมือเครื่องใช้

Mobirise

กระปุกเคลือบสีเขียว

View in 3D

กระปุกปากแคบ ไหล่ผาย เชิงสอบ ก้นเรียบ เคลือบสีเขียวเกือบจรดก้น ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

ขวด 2 หูเคลือบสีเขียว

View in 3D

กระปุกปากแคบ มีหู (แตกหัก) ลำตัวโค้งกลม ยกเชิง ก้นเรียบ เคลือบสีเขียว (เคลือบเสื่อมสภาพ) เกือบจรดก้น ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

กระปุกเขียนลายครามใต้เคลือบ

View in 3D

กระปุกปากแคบ ไหล่ผาย ยกเชิง ก้นเรียบ เขียนลายสีครามใต้เคลือบ ลายก้านต่อดอก ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

ขวด 2 หู หรือ ขวดทรงมะละกอ
เคลือบสีน้ำตาล

View in 3D

ขวด ปากแคบ ยกขอบปาก มีหู 2 หู ลำตัวโค้งรี ยกขอบเชิง ไหล่ขูดขีดเส้นขนานแนวนอนใต้เคลือบสีน้ำตาล เคลือบถึงลำตัวตอนล่าง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

กระปุกเคลือบสีน้ำตาลทรงลูกแพร์

View in 3D

กระปุกทรงลูกแพร์ ปากผาย คอสอบ ลำตัวผาย ยกเชิง ก้นเรียบ เคลือบสีน้ำตาลเกือบจรดเชิง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

ขวด 2 หู เคลือบสีน้ำตาล

View in 3D

ขวด ปากและคอแตกหัก ลำตัวโค้งรี ยกขอบเชิง ไหล่ขูดขีดเส้นขนานแนวนอนใต้เคลือบสีน้ำตาล เคลือบถึงลำตัวตอนล่าง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์

Mobirise

แวดินเผา

View in 3D

รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง มีลายเส้นรอบวง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย

Mobirise

แวดินเผา

View in 3D

รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง มีลายเส้นรอบวง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย

Mobirise

แวดินเผา

View in 3D

รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย

Mobirise

แวดินเผา

View in 3D

รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย

Mobirise

ถ้วยเคลือบสีขาว

View in 3D

ถ้วยปากผาย ลำตัวโค้งเอียง ยกขอบเชิง เคลือบสีขาว (เคลือบเสื่อมสภาพ) ใช้เป็นถ้วยน้ำชาสำหรับดื่ม

Mobirise

คณฑีเคลือบสองสี (เคลือบสีเหลืองและสีเขียว)

View in 3D

ปากคณฑี มีลักษณะปากแคบ ตัวโค้งกลม และพวยคนที มีลักษณะตัวพวยโค้งกลม ปากแคบ เคลือบสองสี โดยพื้นหลังเป็นเคลือบสีเขียวและลายวงกลมเคลือบสีเหลือง โดยคนทีใช้เป็นภาชนะสำหรับบรรจุน้ำ หรืออาจถูกใช้เป็นภาชนะรั่งน้ำศักดิ์สิทธิ์

Mobirise

ชามเคลือบสีเขียวขูดสลักด้านนอกเป็นลายกลีบบัว

View in 3D

ชามทรงครึ่งวงกลม ยกขอบเชิง ตัดตรง ขูดสลักลายกลีบบัวใต้เคลือบสีเขียว เคลือบทั้งด้านในและด้านนอก ด้านนอกเคลือบจรดเชิง ใช้เป็นภาชนะสำหรับการรับประทานอาหาร

Mobirise

แหนบทำจากสำริด

View in 3D

แหนบทำจากสำริด มีลักษณะเป็นแท่งสำริดรูปร่างแบนที่ถูกดัดงอจนเป็นที่คีบ บริเวณส่วนปลายทั้ง 2 ข้างโค้งงอเข้าหากัน

Mobirise

เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำมาจากหิน

View in 3D

เป็นแท่นหินมีการฝนขัดปลายด้านหนึ่งให้มีรูปร่างเหมือนใบมีด และบริเวณด้ามจับเป็นแท่นพอดีมือ

Mobirise

เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำมาจากหิน

View in 3D

เป็นแผ่นหินแบน ๆ มีร่องรอยการกะเทาะแต่งคมโดยรอบ ปลายด้านหนึ่งแคบคล้ายเป็นด้ามจับ แต่มีลักษณะแบน ส่วนปลายแหลมเป็นสะเก็ดหินที่แตกออกจากแกนหิน โดยจะสังเกตได้จากผิวหน้าของเครื่องมือ ซึ่งด้านหนึ่งยังเป็นรอยกะเทาะอยู่บาง ๆ

Mobirise

แผ่นหินทรายสลักรูปร่างกลม

View in 3D

แผ่นหินทรายสลักรูปร่างกลม เจาะรูตรงกลางแต่ไม่ทะลุ

Mobirise

ตะกรันโลหะ

View in 3D

พบตะกรันโลหะเป็นจำนวนมากในการขุดแต่งโบราณสถาน นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าอาจจะเกี่ยวข้องกับการถลุงแร่โลหะ แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นแร่ชนิแร่ประเภทใด ซึ่งจากการสำรวจพื้นที่ใกล้เคียง มีแหล่งแร่เหล็กอยู่บริเวณบ้านเขาเหล็กในเขตอำเภอนบพิตำ

ชื่อ 
กระเบื้องเชิงชาย
ขนาด 
กว้าง = 10 ซม.
ยาว = 20 ซม.
หนา = 1 ซม.
หนัก = 639 กรัม
เส้นผ่าศูนย์กลางส่วนปลาย = 8 ซม.
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
รูปทรงเป็นทรงกระบอกผ่าครึ่ง หน้าที่ใช้งานน่าจะใช้ครอบสันหลังคามากกว่าใช้มุงหลังคาส่วนอื่น บางชิ้นพบการทำลวดลายที่ปลายด้านหนึ่งคล้ายเป็นกระเบื้องเชิงชาย พบชิ้นสมบูรณ์ที่เป็นกระเบื้องเชิงชายด้วยเพียงชิ้นเดียว
พื้นที่ขุดพบ
รูปทรงเป็นทรงกระบอกผ่าครึ่ง
อายุ
รูปทรงเป็นทรงกระบอกผ่าครึ่ง
แหล่งผลิต
รูปทรงเป็นทรงกระบอกผ่าครึ่ง

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
อิฐ
ขนาด
กว้าง =15-20 ซม.
ยาว = 30-35 ซม.
หนา = 5-7 ซม.
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
อิฐที่พบในการก่อสร้างโบราณสถานเป็นอิฐขนาดใหญ่ ในเนื้ออิฐมีแกลบข้าวปนอยู่ คล้ายกับอิฐที่พบในวัฒนธรรมทวารวดี
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
ฐานเสาของอาคาร
ขนาด
-
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ฐานเสาของอาคาร ทำมาจากหินทรายสลัก ซึ่งมี 2 แบบ คือ
1. แบบ ก. รูปร่างค่อนข้างรี ตรงกลางสลักเป็นร่องวงกลมไว้สำหรับวางเสาไม้ร่องวงกลมที่สลักไว้เป็นร่องไม่ลึกมากนัก
2. แบบ ข. รูปร่างสี่เหลี่ยม ตรงกลางสลักเป็นร่องวงกลม สำหรับวางไม้ ร่องวงกลมสลักไว้ค่อนข้างลึก
พื้นที่ขุดพบ
โบราณสถานหมายเลข 1 และโบราณสถานหมายเลข 4
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หรือพระโพธิสัตว์เมตไตรยะ
ขนาด
สูง = 152 ซม.
ฐานกว้าง = 48 ซม.ฐานยาว = 48 ซม.
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
พ.ศ.2526 ได้สำรวจพบชิ้นส่วนท่อนล่างของรูปเคารพ ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นท่อนล่างของเทวรูปพระวิษณุ โดยกำหนดอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 ทำให้ตีความกันว่าโบราณสถานแห่งนี้เป็นเทวสถานเนื่องในไวษณพนิกาย ซึ่งเป็นนิกายหนึ่งในศาสนาฮินดู นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์ว่าเป็นใหญ่กว่าเทพใด ๆ ในกลุ่มตรีมูรติอันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ

ต่อมาในปี 2545 ได้มีการขุดค้นพบชิ้นส่วนพระเศียร และส่วนองค์ของรูปเคารพ เมื่อนำทั้งส่วนมาประกอบกัน พบว่าลักษณะทางประติมานวิทยาของรูปเคารพนี้ ไม่ใช่รูปพระวิษณุตามความเชื่อเดิม เพราะพระวิษณุต้องมี 4 กร และไม่ปรากฏการทำกรัณฑมงกุฎในพระวิษณุ ซึ่งตัวบ่งชี้สำคัญของรูปเคารพนี้อยู่ที่ชิ้นส่วนรูสามเหลี่ยมตรงกรัณฑมงกุฎที่สูญหายไป

โดยนักโบราณคดีจึงตั้งขอสันนิษฐานใหม่ว่า น่าจะเป็นพระโพธิสัตว์ของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน อันได้แก่พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หรือพระโพธิสัตว์เมตไตรยะ อายุระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16-18 เพราะรูปเคารพมีลักษณะเชิงประติมากรรมที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดียใต้ เช่น ปัลลวะ โจฬะตอนปลาย และวิชัยนคร รวมทั้งมีการปรับปรุงรูปเคารพจนมีลักษณะเป็นพื้นเมือง ซึ่งจากรูปเคารพทำให้บ่งชี้ว่าโบราณสถานตุมปังจึงควรเป็นพุทธสถาน ไม่ใช่เทวสถานตามข้อสันนิษฐานเดิม
ปัจจุบันรูปเคารพพระโพธิสัตว์จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
กระปุกเคลือบสีเขียว
ขนาด
สูง = 6 ซม.
ปาก = 3.2 ซม.
ลำตัว = 7.1 ซม.
เชิง = 3.1 ซม.
เนื้อหนา = 0.6 ซม.
น้ำหนัก = 150 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
กระปุกปากแคบ ไหล่ผาย เชิงสอบ ก้นเรียบ เคลือบสีเขียวเกือบจรดก้น ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
แนวอิฐ
อายุ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 19
แหล่งผลิต
เตาหลงฉวน
มณฑลเจ้อเจียง
ปลายราชวงศ์ซ่งภาคใต้ถึงต้นราชวงศ์หยวน 

<<< กลับ

ชื่อ
ขวด 2 หูเคลือบสีเขียว
ขนาด
สูง = 8 ซม.
ปาก = 3 ซม.
ลำตัว 8 ซม.
เชิง = 3.4 ซม..
เนื้อหนา = 0.5 ซม.
น้ำหนัก = 169 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
กระปุกปากแคบ มีหู (แตกหัก) ลำตัวโค้งกลม ยกเชิง ก้นเรียบ เคลือบสีเขียว (เคลือบเสื่อมสภาพ) เกือบจรดก้น ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
โบราณสถานหมายเลข 3
อายุ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 19
แหล่งผลิต
เตาหลงฉวน
มณฑลเจ้อเจียง
ปลายราชวงศ์ซ่งภาคใต้ถึงต้นราชวงศ์หยวน 

<<< กลับ

ชื่อ
กระปุกเขียนลายครามใต้เคลือบ
ขนาด
สูง = 5.5 ซม.
ปาก = 2.1 ซม.
ลำตัว = 6.2 ซม.
เชิง = 3.5 ซม.
เนื้อหนา = 0.3 ซม.
น้ำหนัก = 102 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
กระปุกปากแคบ ไหล่ผาย ยกเชิง ก้นเรียบ เขียนลายสีครามใต้เคลือบ ลายก้านต่อดอก ใช้งานเป็นภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
กำแพงแก้วด้านทิศใต้
อายุ
ปลายพุทธศตวรรษที 19
แหล่งผลิต
เตาจิ่งเต๋อเจิ้น มณฑลเจียงซี
ราชวงศ์หยวน 

<<< กลับ

ชื่อ
ขวด 2 หู หรือ ขวดทรงมะละกอเคลือบสีน้ำตาล
ขนาด
สูง = 12.5 ซม.
ปาก = 3 ซม.
ลำตัว = 7.5 ซม.
เชิง = 4.5 ซม.
เนื้อหนา = 0.4 ซม.
น้ำหนัก = 185 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ขวด ปากแคบ ยกขอบปาก มีหู 2 หู ลำตัวโค้งรี ยกขอบเชิง ไหล่ขูดขีดเส้นขนานแนวนอนใต้เคลือบสีน้ำตาล เคลือบถึงลำตัวตอนล่าง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
กลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22
แหล่งผลิต
เตาศรีสัชนาลัย (ป่ายาง) อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

<<< กลับ

ชื่อ
กระปุกเคลือบสีน้ำตาลทรงลูกแพร์
ขนาด
สูง = 7.5 ซม..
ปาก = ไม่สามารถวัดขนาดได้ เนื่องจากชำรุด
ลำตัว = 6.3 ซม.
เชิง = 3.1 ซม..
เนื้อหนา = 0.4 ซม.
น้ำหนัก = 95 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
กระปุกทรงลูกแพร์ ปากผาย คอสอบ ลำตัวผาย ยกเชิง ก้นเรียบ เคลือบสีน้ำตาลเกือบจรดเชิง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
โบราณสถานหมายเลข 3
อายุ
กลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22
แหล่งผลิต
เตาศรีสัชนาลัย (ป่ายาง) อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

<<< กลับ

ชื่อ
ขวด 2 หู เคลือบสีน้ำตาล
ขนาด
สูง = 9.5 ซม.
ปาก = ไม่สามารถวัดขนาดได้ เนื่องจากชำรุด
ลำตัว = 6.9 ซม.
เชิง = 4.3 ซม.
เนื้อหนา = 0.5 ซม.
น้ำหนัก = 153 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ขวด ปากและคอแตกหัก ลำตัวโค้งรี ยกขอบเชิง ไหล่ขูดขีดเส้นขนานแนวนอนใต้เคลือบสีน้ำตาล เคลือบถึงลำตัวตอนล่าง ใช้งานภาชนะบรรจุยา หมึก หรือผง รวมถึงบรรจุอัฐิฝังไว้ใต้เจดีย์
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
กลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22
แหล่งผลิต
เตาศรีสัชนาลัย (ป่ายาง) อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

<<< กลับ

ชื่อ
แวดินเผา
ขนาด
วงนอก = 3 ซม.
วงใน = 0.5 ซม.
หนา = 1.9 ซม.
หนัก = 22 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง มีลายเส้นรอบวง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
แวดินเผา
ขนาด
วงนอก = 3.3 ซม.
วงใน = 0.5 ซม.
หนา = 1.4 ซม.
หนัก =19 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง มีลายเส้นรอบวง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
แวดินเผา
ขนาด
วงนอก = 3 ซม.
วงใน = 0.5 ซม.
หนา = 1 ซม.
หนัก =11 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
แวดินเผา
ขนาด
วงนอก = 3 ซม.
วงใน = 0.4 ซม.
หนา = 1.2 ซม.
หนัก =12 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
รูปร่างแวดินเผา มีลักษณะทรงกลมแบนทั้ง 2 ด้าน มีรูตรงกลาง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย
พื้นที่ขุดพบ
โบราณสถานหมายเลข 3
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
ถ้วยเคลือบสีขาว
ขนาด
สูง = 4 ซม..
ปาก = 7.2 ซม.
เชิง = 0.2 ซม..
เนื้อหนา = 0.4 ซม.
น้ำหนัก = 44 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ถ้วยปากผาย ลำตัวโค้งเอียง ยกขอบเชิง เคลือบสีขาว (เคลือบเสื่อมสภาพ) ใช้เป็นถ้วยน้ำชาสำหรับดื่ม
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
ครึ่งแรกพุทธศตวรรษที่ 22
แหล่งผลิต
เตาจิ่งเต๋อเจิ้น มณฑลเจียงซี ราชวงศ์หมิง

<<< กลับ

ชื่อ
กคณฑีเคลือบสองสี (เคลือบสีเหลืองและสีเขียว)
ขนาด
ไม่สามารถวัดขนาดได้ เนื่องจากชิ้นส่วนแตกชำรุด 
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ปากคณฑี มีลักษณะปากแคบ ตัวโค้งกลม และพวยคณฑี มีลักษณะตัวพวยโค้งกลม ปากแคบ เคลือบสองสี โดยพื้นหลังเป็นเคลือบสีเขียวและลายวงกลมเคลือบสีเหลือง โดยคณฑี ใช้เป็นภาชนะสำหรับบรรจุน้ำ หรืออาจถูกใช้เป็นภาชนะรั่งน้ำศักดิ์สิทธิ์
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 22
แหล่งผลิต
เตาสือเจ้า มณฑลฝูเจี้ยน
ราชวงศ์หมิง 

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
ชามเคลือบสีเขียวขูดสลักด้านนอกเป็นลายกลีบบัว
ขนาด
สูง = 5.5 ซม..
ปาก = 16.5 ซม.
เชิง = 0.5 ซม..
เนื้อหนา = 4.3 ซม.
น้ำหนัก = 153 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
ชามทรงครึ่งวงกลม ยกขอบเชิง ตัดตรง ขูดสลักลายกลีบบัวใต้เคลือบสีเขียว เคลือบทั้งด้านในและด้านนอก ด้านนอกเคลือบจรดเชิง ใช้เป็นภาชนะสำหรับการรับประทานอาหาร
พื้นที่ขุดพบ
หลุมขุดค้น N3W6 อยู่ทางทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน
อายุ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 19
แหล่งผลิต
เตาหลงฉวน มณฑลเจ้อเจียง ปลายราชวงศ์ซ่งภาคใต้ถึงต้นราชวงศ์หยวน

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
แหนบทำจากสำริด
ขนาด
ยาว = 10 ซม.
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
แหนบทำจากสำริด มีลักษณะเป็นแท่งสำริดรูปร่างแบนที่ถูกดัดงอจนเป็นที่คีบ บริเวณส่วนปลายทั้ง 2 ข้างโค้งงอเข้าหากัน
พื้นที่ขุดพบ
นอกเขตโบราณสถานทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำมาจากหิน
ขนาด
กว้าง = 4.5 ซม..
ยาว = 16.5 ซม.
หนา = 3 ซม.
หนัก =310 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
เป็นแท่นหินมีการฝนขัดปลายด้านหนึ่งให้มีรูปร่างเหมือนใบมีด และบริเวณด้ามจับเป็นแท่นพอดีมือ
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำมาจากหิน
ขนาด
กว้าง = 11 ซม..
ยาว = 19 ซม.
หนา = 1.1 ซม.
หนัก = 225 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
เป็นแผ่นหินแบน ๆ มีร่องรอยการกะเทาะแต่งคมโดยรอบ ปลายด้านหนึ่งแคบคล้ายเป็นด้ามจับ แต่มีลักษณะแบน ส่วนปลายแหลมเป็นสะเก็ดหินที่แตกออกจากแกนหิน โดยจะสังเกตได้จากผิวหน้าของเครื่องมือ ซึ่งด้านหนึ่งยังเป็นรอยกะเทาะอยู่บาง ๆ
พื้นที่ขุดพบ
-
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

Mobirise

ชื่อ
แผ่นหินทรายสลักรูปร่างกลม
ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก = 13 ซม.
เส้นผ่าศูนย์กลางวงกใน = 3.3 ซม.
หนา = 3 ซม.
หนัก = 801 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
แผ่นหินทรายสลักรูปร่างกลม เจาะรูตรงกลางแต่ไม่ทะลุ
พื้นที่ขุดพบ
โบราณสถานหมายเลข 1
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

ชื่อ
ตะกรันโลหะ
ขนาด
หนัก = 150 กรัม
ลักษณะ/การใช้ประโยชน์
พบตะกรันโลหะเป็นจำนวนมากในการขุดแต่งโบราณสถาน นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าอาจจะเกี่ยวข้องกับการถลุงแร่โลหะ แต่ยังไม่ทราบว่าเป็นแร่ชนิแร่ประเภทใด ซึ่งจากการสำรวจพื้นที่ใกล้เคียง มีแหล่งแร่เหล็กอยู่บริเวณบ้านเขาเหล็กในเขตอำเภอนบพิตำ
พื้นที่ขุดพบ
บริเวณเนินดินด้านทิศตะวันตกของตัวโบราณสถาน
อายุ
-
แหล่งผลิต
-

<<< กลับ

TEL./FAX.

0-7567-2508-10
0-7567-2507


Contacts

Walailak Abode of Culture
Sports complex
222 Thaiburi Thasala district Nakhon si thammarat
80160

E-MAIL
  • cultural.wu@gmail.com